ราคา พรบ รถยนต์ แต่ละแห่งแตกต่างกันหรือไม่

0
2593

การเป็นเจ้าของรถแต่ละคัน เจ้าของรถต้องระลึกเอาไว้เสมอว่าไม่ได้ไม่ได้มีเพียงราคาซื้อขายรถยนต์ หรือน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้ในการเดินทางเท่านั้น แต่ยังมีค่าใช้จ่ายในส่วนของการดูแลรักษารถยนต์ให้อยู่ในสภาพที่ดีอยู่เสมอ เพราะส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องยนต์รถโดยตรง รวมถึงข้อบังคับทางกฎหมายไม่ว่าจะเป็น ราคา พรบ รถยนต์ ภาษี ค่าตรวจสอบสภาพรถยนต์ในกรณีที่รถยนต์มีอายุการใช้งานตั้งแต่ 7 ปีขึ้นไป นอกจากนั้นยังมีค่าใช้จ่ายที่เจ้าของรถสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความพึงพอใจ อาทิเช่น ประกันรถชั้น 1 ที่ไหนดี หรือพิจารณาเป็นประกันรถยนต์ชั้น 2 หรือ 3 แทน เป็นต้น เหล่านี้คือค่าใช้จ่ายที่เจ้าของรถจะต้องคำนึงถึงก่อนตัดสินใจซื้อรถมาใช้

อย่างก็ดีเจ้าของรถบางคนก็ยังสงสัยว่าในการ ต่อพรบ แต่ละครั้งนั้นมีความจำเป็นต่อรถยนต์ของคุณอย่างไร ทั้งยังส่งผลต่อค่าใช้จ่ายที่แตกต่างกันหรือไม่ การเลือก ประกันรถยนต์ที่ไหนดี จะส่งผลต่อราคาค่าใช้จ่ายในส่วนนี้หรือไม่ จึงขอชี้แจงว่า พรบ รถยนต์ คือความรับผิดชอบของเจ้าของรถยนต์ทุกๆคน ที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติความคุมการจราจรทางบกที่กรมขนส่งทางบกเป็นหน่วยงานภาครัฐที่ดูแลและรับผิดชอบ เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำมาใช้ชดเชยในกรณีที่รถประสบอุบัติเหตุ ให้ความคุ้มครองทั้งในส่วนของคู่กรณี ผู้ขับขี่ และผู้โดยสารทุก ๆ คน ซึ่งเป็นความคุ้มครองต่อชีวิตและร่างกายเท่านั้น ไม่รวมถึงความเสียหายต่อทรัพย์สินต่าง ๆ ภายในและภายนอกรถ และให้ความคุ้มครองเฉพาะในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุเท่านั้น เจ้าของรถยนต์หลายคันจึงยินยอมเพิ่มเติมค่าใช้จ่ายด้วยประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจเพิ่มเติมนั่นเอง อย่างไรก็ตามการเลือก ต่อพรบ กับกรมขนส่งทางบกโดยตรง หรือผู้ให้บริการเอกชนแต่ละแห่งนั้นจะไม่ส่งผลต่อ ราคา พรบ รถยนต์ แต่อย่างใด แต่ราคาของ พรบ รถยนต์ จะขึ้นกับรายละเอียดดังต่อไปนี้

  1. ประเภทของรถยนต์ รถยนต์แต่ละขนาด และจำนวนผู้โดยสาร จะมีค่าใช้จ่ายของ พรบ รถยนต์ ที่แตกต่างกัน โดยในกรณี พรบ ของรถเก๋งจะมีค่าใช้จ่ายที่ 645.21 บาท ส่วนกรณีของรถกระบะ ราคา พรบ รถยนต์ จะอยู่ที่ 967.28 บาท ส่วนกรณีรถตู้ที่มีที่นั่งโดยสารไม่เกิน 15 ที่นั่ง จะมีราคาของ พรบ อยู่ที่ 1,35 บาท ซึ่งเจ้าของรถสามารถเลือกเดินทางไปชำระด้วยตนเองที่กรมขนส่ง หรือใช้บริการกับภาคเอกชนที่ให้บริการได้เลย เพราะการเลือก ประกันรถยนต์ที่ไหนดี ในส่วนของประกันรถยนต์ภาคบังคับอย่าง พรบ นั้น ไม่ว่าที่ใดก็มีราคาของ พรบ ที่ต้องจ่ายเท่า ๆ กัน แต่บางแห่งก็อาจมีการคิดค่าบริการการเดินเอกสารเพิ่มเติมได้ ซึ่งก็มักอยู่ในอัตราที่ 100 – 200 บาท
  2. การชำระเกินระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด เนื่องจาก พรบ รถยนต์ คือข้อบังคับที่กฎหมายกำหนดให้เจ้าของรถจะต้องดำเนินการในทุก ๆ ปี และมีผลต่อการนำไปประกอบการจ่ายภาษีรถยนต์ในแต่ละปีด้วย ดังนั้นหากเจ้าของรถไม่สามารถดำเนินการได้ภายในระยะเวลาที่กำหนดนั้น ก็จะมีค่าปรับในส่วนของภาษีรถยนต์เพิ่มเติมมาได้ โดยคิดอัตราเปรียบเทียบปรับในส่วนของภาษีรถยนต์เพิ่มเติม ซึ่งก็คือในอัตรา 1% ทุก ๆ 1 เดือนนั่นเอง ดังนั้นหากยิ่งชำระค่าใช้จ่ายของ พรบ รถยนต์ช้า ก็จะเกิดค่าใช้จ่ายของภาษีรถยนต์ที่บานปลายตามระยะเวลาที่นานขึ้นเรื่อย ๆ นั้นได้ อย่างไรก็ตามในส่วนของค่าใช้จ่ายของ พรบ รถยนต์ นั้นไม่มีค่าปรับใด ๆ เพิ่มเติมทั้งสิ้น แต่หากเจ้าหน้าที่ควบคุมการจราจรของตรวจค้นเอกสารประจำรถแล้วพบว่า พรบ รถยนต์ หมดอายุก็จะมีโอกาสที่ต้องจ่ายค่าปรับได้
  3. กรณีรถยนต์ป้ายแดงมีค่าใช้จ่ายของ พรบ หรือไม่ ในกรณีของรถป้ายแดงนั้น ถือเป็นรถที่ยังไม่ได้มีการขึ้นทะเบียนกับทางกรมขนส่ง จึงยังไม่ได้รับความคุ้มครองในส่วนของ พรบ รถยนต์ เจ้าของรถยนต์จึงควรทำประกันชั้น 1 เพื่อให้ได้รับความคุ้มครองที่ครอบคลุมรอบด้าน และมีวงเงินคุ้มครองที่สูงกว่าการเลือกทำประกันรูปแบบอื่น ๆ เป็นการช่วยสร้างความอุ่นใจในการใช้รถใช้ถนนได้เป็นอย่างดี
  4. การต่อ พรบ รูปแบบใหม่ ในปัจจุบันทางกรมขนส่ง และตัวแทนผู้ให้บริการของเอกชนได้มีการพัฒนารูปแบบการให้บริการ ต่อพรบ ใหม่แล้ว ด้วยการทำธุรกรรมผ่านระบบออนไลน์ ที่มีความสะดวกรวดเร็วมากกว่าเดิม เพราะเจ้าของรถไม่จำเป็นต้องเดินทางไปหาตัวแทนหรือกรมขนส่งฯ ให้เสียเวลา แต่สามารถต่อเอกสาร พรบ ได้เลยที่บ้าน และยังสามารถเลือกทำธุรกรรมได้ตลอดเวลาที่สะดวกอีกด้วย ช่วยให้เจ้าของรถสามารถประหยัดได้ทั้งเวลา และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ซึ่งอาจพิจารณาดำเนินการไปพร้อม ๆ กับการ ประกันรถชั้น 1 ที่ไหนดี ด้วยกันเลย

กรณีเรียกค่าสินไหมทดแทนมีค่าใช้จ่ายใด ๆ เพิ่มเติมหรือไม่ ในกรณีที่เจ้าของรถต้องการยื่นเรื่องเพื่อขอเงินชดเชยจาก พรบ ก็สามารถติดต่อกับตัวแทนหรือกรมขนส่งโดยตรงได้เลย แต่ต้องเตรียมเอกสารในการขอรับสินไหมให้พร้อมไม่ว่าจะเป็นเอกสารสัญญา ใบแจ้งความหรือใบบันทึกประจำวัน ใบรับรองแพทย์ ใบเสร็จค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล สำเนาบัตรประชาชน และเอกสารใบยื่นคำร้อง บด.3 ที่เจ้าของรถสามารถหาดาวน์โหลดได้จากเว็บไซด์ของกรมขนส่ง

การทำ พรบ อาจกล่าวได้ว่าเป็นการทำประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับตามที่กฎหมายได้กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบมา การเลือกทำ ประกันรถยนต์ที่ไหนดี ก็อาจขึ้นกับความสะดวกของเจ้าของรถเอง และเพื่อความคุ้มครองที่มากกว่าก็ควรพิจารณาไปพร้อม ๆ กับการทำ ประกันรถชั้น 1 ที่ไหนดี ด้วย เพื่อความคุ้มครองรอบด้านทั้งต่อชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินต่าง ๆ อย่างเช่น DirectAsia ที่ให้ความสะดวกอย่างมากในเรื่องการเช็คเบี้ยประกันที่รวดเร็ว เพียงโทร 02 821 5791 ก็มีเจ้าหน้าที่พร้อมให้ข้อมูลหรือดูข้อมูลที่เว็บไซต์ https://www.directasia.co.th

ทิ้งคำตอบไว้

Please enter your comment!
Please enter your name here

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.